วันพฤหัสบดีที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2555

CEO VISION ศุกร์ 20 มค. 554

หลังจากเกิดเออีซี ภายใน 1มค.2015 สิ่งที่น่าจะมีผลเรื่องความขัดแย้ง ทั้งภูมิภาค การที่เราเป็นเออีซี ทำให้เกิดการพูดคุยกันง่ายขึ้นการติดต่อพบปะเพิ่มขึ้น ทั้ง10ประเทศ หมุนเวียน แต่ละประเทศเข้ามาเป็นประธาน จะมีโอกาสตั้งคนของตัวเองเป็นเลขาธิการ หมุนเวียนตามตัวอักษร ทุกปีแต่ละประเทศเชิญประชุม ไปประเทศนั้น ๆ เป็นอย่างนี้ สิ่งที่เรียกว่าความเข้าใจ รู้จักกัน แก้ปัญหาย่อมมีมากขึ้น สงครามอินโดจีน เวียตนามเข้มแข็ง. มีทหารกว่าสองล้านคน ต้องการฮุบอินโดจีน ฮุบไปแล้ว หลังจากสงครามเวียตนามสิ้นสุดลง อยู่ในลาว เขมร ผมเชื่อว่าสงครามอินโดจีนไม่น่าจะเกิดขึ้นเช่นเมื่อสามสิบปีที่แล้วพม่าเองถือเป็นประเทศที่มีความขัดแย้งภายในประเทศ หัวหน้าพรรค ตรงข้ามฝ่ายรัฐบาล นางอองซาน ซูจีน เซ็นสัญญาสันติภาพกับกระเหรี่ยง ขณะเดียวกัน ปล่อยนักโทษการเมือง อันนั้นแสดงถึงความขัดแข้งภายในพม่าลดลง ถ้าไม่มีอาเซียน สิ่งที่จะเกิดขึ้นในพม่าคงยาก รัฐบาลทหาร โดดเดี่ยวมานาน บิ๊กเบิ้ม ไทยสนับสนุนเศรษฐกิจมาตลอด โดดเดี่ยวจากนานาชาติมาตลอด ไม่แคร์ ไม่ฟังต่างประเทศ แต่ถ้าจะมาเป็นประธานอาเซียน เออีซี ความผ่อนปรนร่วมมือภายในประเทศจะสูงขึ้น ภายในก็ดีขึ้น ความขัดแย้งระหว่างชายแดน ผมเชื่อนะครับว่า ตั้งแต่นี้เป็นต้นไป ชายแดน ไทย เขมร ลาว แนวชายฝั่งทะเลของอาเซียน จะดีขึ้น ความเข้าใจ ความร่วมมือ ดีขึ้น ของอาเซียน ความขัดแย้งในภูมิภาคนี้ลดลง ความร่วมมือ มากขึ้น ข้อหนึ่ง
*/
เออีซีเป็นประโยชน์ สอง มีโครงการหนึ่ง eastwest colidor ทางเชื่อตะวันออกตะวันตก มหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ขวามือแปซิฟิก เวียตนาม ซ้ายมือ มหาสมุทรอินเดีย อมตะเอง เมื่อ16ปีที่แล้ว เชิญ แบทเทิล จุงก๊วด ดานัง ออกแบบท่าเรือน้ำลึก เราคิดว่าฝั่งตะวันออก แปซิฟิก มีท่าเรือน้ำลึก เมื่อ 11 ปีที่แล้ว เราพูดคุยกับพม่าที่ทวาย ตอนนั้นพูดกับกระเหี่ยง ยิงกับพม่า ยังทำไม่ได้ ทางอิตาเลียนไทย 3 ปีที่แล้ว ดำเนินการขอใบอนุญาต ไม่เกิน 5 ปีข้างหน้า ทวายจะมีท่าเรือน้ำลึกอีกแห่งหนึ่ง รัฐบาลญี่ปุ่น จีน ให้งบสร้างทางเชื่อม ขยายผิวจราจร สร้างสะพานเชื่อมตามแม่น้ำต่าง ๆ เชื่อ 2 มหาสมุทร 3หมื่นล้านเหรียญ มอบให้ประชาคมอาเซียนตอนไทยเป็นประธาน ประชุมที่หัวหิน 09 พย. ตรงนั้นถือว่าดำเนินการมาแล้ว การขยายผิวจราจร ทางเชื่อม ท่าจะเสร็จเกือบภายใน 3 ปีที่จะเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียนทั้งหมด ทุกท่านคงเข้าใจ เรามองเศรษฐกิจโลก เอาไทยเป็นศูนย์กลาง ตก.ของเราม.อินเดีย อินเดีย รวมกลุ่ม bimstec อาฟริกา ตะวันออกกลาง สหภาพยุโรป ซ้ายมือมือน่าจะมี GDP โลก ประมาณ 45เปอร์เซ็นต์ การที่เราส่งสินค้าไปฝั่งตะวันตกของเรา ออกจากแหลมฉบัง (SEAPORT LAMCHABANG) ลงสู่อ่าวไทย อ้อมโค้ง สิงคโปร์ ลอดช่องแคบมะละกา ทางเชื่อมระหว่างท่าเรือน้ำลึก จะกลายเป็นสินค้าวิ่งไกลเสียค่าขนส่ง สั้นลง ประหยัดเวลาค่าขนส่ง ถือเป็นตัวจักรสำคัญทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก ต้นทุนในการขนส่งลดลง ไปมาหาสู่กันง่ายขึ้น ถ้าไม่มีเออีซี อาเซียน จะไม่มีโอกาสอย่างนี้เกิดขึ้น ทำให้ต้นทุนลดลงอีกเยอะเลย
*
022481657 อั่งเปา บัตรชม มินิคอนเสิร์ต วาเลนไทน์ พลิกชะตาฝ่าวิกฤต ..หนังสือ "ชีวิตใหม่"
*
ขอบคุณสปอนเซอร์ "รู้ใช้เข้าใจเงิน" เขาค้อไฮแลน์ จ.เพชรบูร์ บลจ.ธนชาติ เขาค้อไฮแลนด์รีสอร์ท
*
ส่งมุมมองเออีซี บัตรคอนเสิร์ต ฟังดนตรีเอย กิจกรรมสัมมนา 41119652481657
*
สาม ความขัดแ ย้งในภูมิภาคนี้น้อยลง East-West corridor อะไรที่จะขายขายได้หมด อยากซื้อซื้อได้แทบทุกอย่งในภูมิภาค ไทยผลิตสินค้าอะไร ในนิคมฯเรา เดินในตลาดสมัยก่อน พม่า ลาว เขมร เขาซื้อเราได้หมดเลยนะครับ ผมยังได สมัยตอนโน้น ผมไปเวียตนาม เดินในฮานอย เห็นยาสีฟันคอลเกต แฟซ่า คาโอ เครื่องใช้ไม้สอย ในภูมิภาคนี้ ผลิตในประเทศไทย รถยนต์ มอเตอร์ไซค์ เครืองใช้ไฟฟ้า จีนตอนใต้ก็เช่นกัน ซื้อของไทยไป ขณะเดียวกัน ลองคิดว่าสิ่งที่เขาปลูก พืชพันธ์ธัญญาหาร แร่ธาตุ เรามีโรงงานรับซื้อสิ่งเหล่านี้ทั้งหมด ไทยจะเป็นศูนย์กลางการผลิตในภูมิภาค ศูนย์กลางของการขาย เราสามารถผลิต ขายได้ ทำได้ทั้งซื้อ ภูมิภาคที่ไม่มีชายแดนเหมือนในปัจจุบัน หรือลดภาษีอากรไปลงเยอใกล้จะเป็นศูนย์ เรามีการขยายการค้ากับประเทศข้างบ้าน เพิ่มขึ้นปีละกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ ขณะปัจจุบันศก.โลกกำลังไม่ดี เบอร์ 1ในการซื้อสินค้าจากไทย อเมริกา ญี่ปุ่น ยุโรป ตอนนี้ลดลงฮวบฮาบ ทางกลับกัน ประเทศข้างบ้านเรา เราขายของเพิ่มขึ้น ซื้อของจากเขาเพิ่มขึ้น เออีซี ..มีเรื่องลดภาษี ความยุ่งยากเรื่องการนำเข้า ส่งออก สี่ กรุงเทพกลายเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยว การผลิต การเงิน ไม่เฉพาะข้างบ้านเราอย่างเดียว ทั่วโลก เราต่างคนต่างทำ การประชุมของ การวมตัว 10 ประเทศ ผู้นำโลก นักธุรกิจทั่วโลกสนใจจะมาทำธุรกิจ ท่องเที่ยว ลงทุน ในอาเซียนเพิ่มทุกปี สายการบินทุกปี นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น เมื่อสายการบินเพิ่มผ่านอาเซียน ไทยเป็นประตูที่ทุกคนจะต้องมาวิ่งผ่านกรุงเทพ การเติบโตของนักท่องเที่ยว คนที่จะสนใจเข้ามาลงทุน เพิ่มขึ้น การเงิน รัฐบาล 2 ปีที่ผ่านมา รมต.ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ สร้าง ROH Region Head Quater สนง.ใหญ่ คู่แข่งสิงคโปร์ ประเทศต่าง ๆ ตั้ง สนง.ใหญ่ ให้สิทธิประโยชน์ด้านภาษี รัฐบาลไทยสร้างสิทธิประโยชน์ ประเทศใหญ่ ๆ สร้างออฟฟิศ ทำการค้า การเงิน การผลิต กรุงเทพจะเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยว การเงิน การผลิต สายการผลิตที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียนอยู่ในไทยของโตโยต้า จะทำให้ ศก.ขยายตัว ข้อห้า อาเซียนจะกลายเป็นว่ามีความสามารถในการเติบโตมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เขตการค้าเสรี ไม่ต้องเสียภาษีระหว่างประเทศสมาชิก ทุกคนจะหาแหล่งผลิต ต้นทุนต่ำ ค่าแรง สิทธิประโยชน์สูง ต้นทุนการผลิตของเราถูกลง ทุกท่านเชื่อไหม รถยนต์การที่อาเซียน เราผลิตรถขึ้นมา ทุกประเทศในอาเซียนยกเว้นมาเลเซีย เขามีโปรตรอน national brand เขาซื้อโนฮาวจากมิตซูบิชิ โปรตรอน ตั้งยี่ห้อของมาเลเซีย ต้องขอคุ้มครองจากรัฐบาล รัฐบาลอาจจะยังมีภาษีนำเข้าคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ อาเซียนเปิดกว้าง มีภาษีลดลงอย่างนี้ ประเทศใดที่มีต้นทุนการผลิตถูก ประเทศไทยมีกำลังการผลิตรถกว่า60 เปอร์เซนต์ของกำลังการผลิตรถในอาเซียน จุดเริ่มต้น..ตอนนี้อินโดนีเซีย เข้ามาแข่งกับเมืองไทยแล้วเรืองรถ มอเตอร์ไซค์ มีปชก.กว่า200 ล้านคน มากกว่าเมืมองไทย3-4เท่า ค่าแรงถูกกว่าไทย..ตลาดไทย มีเอฟทีเอ อาเซียน ผูกเรื่องของเอฟทีเอกับประเทศ เกือบทั่วโลกมีโอกาสาจะสั่งซื้อรถในราคาถูกจากประเทศไทย เฉพาะโตโยต้า ส่งรถยนต์ขายทั่วโลกกว่าร้อยประเทศ อะหลั่ยชิ้นส่วน โตโยต้ามีขายมากกว่า140ประเทศ ประเทศใดประเทศหนึ่งจะเป็นคู่แข่งกับไทย การลงทุนการผลิตขยายตัวทุกด้านไม่แค่รถยนต์ อาเซียนปชก.580กว่าล้านคน GDP 1.5 ล้านล้านเหรียญ น้อยกว่าอเมริกาหรืออียู กว่า 10 เท่าตัว..เขาใหญ่กว่าเรา 10 เท่า มีเอฟทีเอ การส่งออกของอาเซียน เงื่อนไข มีการขยายตัวอย่างมาก อยู่ในลักษณะ 20 ใกล้ ๆ หลังจากเปิดเออีซีแล้วอย่างแน่นอน จีนส่งออก30เปอร์เซนต์ เราขยายตัวได้ 20 เปอรเซนต์ อเมริกา ยุโรป ญีปุ่น กำลังป่วย เราต้องสังเกตว่ายุโรปตอนนี้จะเป็นอย่างไร บริษัทเรตติ้ง ให้เรตติ้งประเทศยุโรปลดลงทุกวัน การรวมตัวของประชาคมเศก.อาเซียน ใกล้จะสมบูรณ์แบบมากขึ้นทุกที ใช้สิ่งที่เอื้อ ผลิตขายกันในอาเซียน อาเซียนเติบโต กำลังซื้อเพิ่มขึ้น ถึงแม้ว่าจะไม่เท่าในอดีต ลูกค้ารายใหญ่ 3 จ้าว แต่เราก็มีความเข้มแข็ง ร่วมมือกันในภูมิภาคนี้ อาเซียนจะโตมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก..เอ๊ อาเซียนขยายตัวอย่งนี้ เติบโตอย่างนี้ กรุงเทพ เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยว การเงิน การผลิต สะพานเชื่อมตะวันออกตะวันตก ไทยจะเตรียมตัวกันอย่างไร เรื่องภาษา วันนี้ทุกท่านเห็น คนไทยเรา ผมอาจจะคิดไปเอง เด็กไทยเกิดมาอ่องแอ๊ภาษาเดียว เด็กที่เกิดในสิงคโปร์ ร้องออกมาเป็น 3 ภาษา อังกฤษ จีน ท้องถิ่น ภาษามาเลย์ ทำไมล่ะ.. คนสิงคโปร์ แม้แท็กซี่ แม่บ้าน แม่ค้า ริมถนน หาบเร่..เขาพูดภาษาอังกฤษได้ เราอายม้วนเป็นกิ้งกือ วันนี้มีปัญหา ปชก.64 ล้านคน นอกจากภาษาไทยพูดไทย พูดลาว เขมร จีนแต้จิ๋ว ขยายตัวเรื่องภาษาจีนกลาง มหาวิทยาลัยต่าง ๆ เปิดคอร์สภาษาจีนกันหูดับตับไหม้ 10 ปีที่ผ่านมา เกิดการเปลี่ยนแปลง โรงเรียนอินเตอร์ฯ ในไทยเยอะมาก ไม่ต่ำกว่า30-40 แห่ง ม.ต่าง ๆ เปิดการสอนภาษาอังกฤษ หลายมหาวิทยาลัย ผมยังจำได้ว่า อมตะร่วมมือกับสภาอุตสาหกรรม (สภ.อ.ญี่ปุ่น) เปิดม.ธรรมศาสตร์ภาคภาษาอังกฤษ เงินทุนของเราไม่เยอะ ญี่ปุ่นให้เงินสด 8 ร้อยล้านเยนน ไทยต้องเอาเงินเกือบเท่ากันไปลง แต่เงินไม่ถึง ทางอมตะเลยบริจาคที่ดิน 30 ไร่ทำให้มีมูลค่าใกล้เคียงกับ 8 ร้อนล้านเยน เลยเปิดม.ธรรมศาสตร์ภาคภาษาอังกฤษ นายกฯอานันท์เป็นนายกฯ ตั้งแต่นั้นเราก็มีม.เปิดภาคภาษาอังกฤษมากขึ้น แต่ก็ยังไม่พอ ในเรื่องของสังคมต้องดำเนินการที่ดำเนินการโดยคนมีอายุมากแล้ว แท็กซี่แม่ค้า สามารถพูดภาษาอังกฤษได้ไม่เยอะ อาเซียนเปลี่ยนแปลง ไทยได้ประโยชน์ ผลิตรถมาก ส่งออกเติบโต..มาถึงเมืองไทย แบ๊ะ ๆ พูดไม่ได้ ประเด็นสุดท้าย เราต้องพูดภาษาต่างชาติให้ได้ ภาษาอังกฤษ พูดกันมากที่สุดในโลก ในวงการค้า สังคม การศึกษา คนไทยต้องพูดภาษาอังกฤษให้ได้ ภาษาจีน เรามีเชื้อจีน โซ่ยตี๋ เราพูดอ 2 ภาษานี้ ได้ จะรองรับการเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคนี้ เวียตนาม เขมรพม่า ภาษาอังกฤษต้องพูดกันให้ได้
*
เราเป็นไปเป็นมาอย่างไร ก้าวไปสู่เออีซีอย่างสมบูรณ์ ก้าวทัน สร้างผลประโยชน์ในอนาคตได้ดี โดยเฉพาะคู่แข่งสำคัญ สิงคโปร์ เวียตนาม ซินเหนียน ขว้ายเล่อ
*
ขอบคุณคุณวิกรม กรมดิษฐ์ คุณวิชัย วรธานีวงศ์ ทีมงาน CEO VISION ทุกท่านค่ะ
*

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น